ปัจจัยที่เพิ่มความเสี่ยงโรคไทรอยด์

  • พันธุกรรม
  • การสูบบุหรี่
  • การดื่มแอลกอฮอล์
  • พักผ่อนไม่เพียงพอ
  • ภาวะความเครียดสูง

ไฮเปอร์ไทรอยด์ ชนิดผอม

Hyperthyroidism

ไฮโปไทรอยด์ ชนิดอ้วน

Hypothyroidism

  • เหนื่อยง่าย ใจสั่น
  • ร้อนง่าย เหงื่ออกมาก
  • หงุดหงิดง่าย
  • นอนไม่หลับ
  • กินจุแต่น้ำหนักลดลง
  • ประจำเดือนผิดปกติ
  • บางรายอาจมีคอโต หรือตาโปน
  • อ้วน บวม ที่ใบหน้า รอบดวงตา ลำตัว แขน มือ ขาและเท้า
  • หัวใจเต้นช้า
  • เหนื่อยง่าย
  • เชื่องซึม ง่วงนอนตลอดเวลา
  • ท้องผูก
  • เหงื่อออกน้อย

วิธีรักษาโรคไทรอยด์

  • รักษาด้วยยา เพื่อควบคุมการทำงานของต่อมไทรอยด์ ทำให้อาการต่างๆ ดีขึ้น เช่น น้ำหนักเพิ่มขึ้น ชีพจรเต้นช้าลง ใจสั่นลดลง ฯลฯ
  • รักษาด้วยการผ่าตัด เนื่องจากต่อมไทรอยด์ทำงานมากไป จึงจำเป็นต้องตัดออกไป ซึ่งจะทำให้ผลการรักษาเร็วกว่าวิธีกินยาเม็ด
  • รักษาด้วยการกลืนน้ำแร่ การกลืนน้ำแร่กัมมันตรังสีไอโอดีนที่เกาะกับสารรังสี เพื่อทำให้ต่อมไทรอยด์ทำงานน้อยลงและมีขนาดที่เล็กลงวิธีนี้เหมาะกับผู้ป่วยรักษาด้วยยาแล้วไม่ได้ผล หากท่านมีอาการข้างต้นที่กล่าวมา ให้รีบพบแพทย์ เพื่อรับการวินิจฉัย และ รักษาอย่างถูกวิธี

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่: ศูนย์อายุรกรรม โทร.034-417-999 ต่อ 110, 111